วิชาการศึกษา ชุดที่ 2 การจัดการเรียนรู้
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป วิชาการศึกษา ชุดที่ 2 เรื่อง"การจัดการเรียนรู้"
ความรู้พื้นฐาน การจัดการเรียนรู้ ที่มา: เป็นไปตามที่กำหนดไว้ใน พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (มาตรา 7 ) และได้กำหนดหลักการจัดการศึกษา (มาตรา 8) ให่้เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสำหรับประชาชน (Education for All) ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา (All for Education ) และพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
การจัดการศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาแบบอัธยาศัยต้องเน้นความสำคัญ ทั้ง ความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และบูรณาการตามความเหมาะสมของแต่ละระดับ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ กำหนดให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการ จัดกระบวนการเรียนรู้ (มาตรา 24 )
การออกแบบ การเรียนรุู้
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ได้บัญญัติ เรื่องการจัดการเรียนรู้ในหัวข้อ การออกแบบการจัดการเรียนรู้ ไว้ว่า ผู้สอนต้องศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาให้เข้าใจถึง มาตรฐานการเรียนรู้ ชี้วัดสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ แล้วจึงออกแบบการจัดการเรียนรู้ โดยเลือกใช้วิธีสอน และเทคนิคการสอน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ การวัดประเมินผล เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพและบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ซึ่งเป็นเป้าหมายที่กำหนด ซึ่งการออกแบบจัดการเรียนรู้มีหลายรูปแบบ เช่นการออกแบบ จัดการเรียนรู้แบบ Backward design นั้น เป็นแนวคิดของ Grant Wiggins c]t jay McTich ซึ่งคิดค้นเมื่อ ปี 2541 (ค.ศ. 1998) โดยเขียนหนังสือเรื่อง Understanding by Design นักวิชาการชาวไทยนำมาเผยแพร่ คือ ดร. กษมา วรวรรณ ณ อยุธยา, ดร. เพ็ญนี หล่อวัฒนพงษา
การออกแบบการเรียนรู้แบบ Backward design เป็นกระบวนการออกแบบเรียนรู้ที่ย้อนกลับ เริ่มต้นจากปลายทางที่ผลผลิตที่ต้องการ โดยการนำการวัดผลมาเป็นหลัก จากนั้นจึงออกแบบหลักสูตรและแผนการเรียนการสอน
ขั้นตอนการออกแบบการเรียนรู้แบบ Backward design มี 3 ขั้นตอน
(รายละเอียดลองค้นหาใน google นะครับ)
ทฤษฎีการเรียนรู้
แบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ
1. กลุ่มที่ 1 ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ช่วงก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 20
1.1 ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการฝึกจิตหรือสมอง (Mental Discipline)
1.2 ทฤษฎีของกลุ่มนี้เน้นการพัฒนาให้เป็นไปตามธรรมชาติ (Natural Unfoldment)
1.3 ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการรับรู้และการเชื่อมโยงความคิด(Apperception)
2. กลุ่มที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20
2.1 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorrism )
2.1.1 ทฤษฎีการเชื่อมโยง (Classical Connectionism ) ของธอร์นไดค์ (Thorndike)
2.1.2 ทฤษฏีการวางเงื่อนไข (Conditioning Theory )
2.1.3 ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์ (Hulls Systematic Behavior Theory )
2.2 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม (Cognitivism)
2.2.1 ทฤษฎีเกสตัลท์ (Gestalt Theory )
2.2.2 ทฤษฎีสนาม (Field Theory)
2.2.3 ทฤษฎีเครื่องหมาย (Sign theory)
2.2.4 ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา (Intellectual Development)
2.2.5 ทฤษฎีการเรียนรุู้อย่างมีความหมาย (A Theory of meaningful Verbal)
2.3 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษย์นิยม (Humanism )
2.3.1 ทฤษฎีการเรียนรู้ของมาสโลว์
2.3.2 ทฤษฎีการเรียนรู้ของรอเจอร์
2.3.3 แนวคิดการเรียนรู้ของโคมส์
2.3.4 แนวคิดการเรียนรู้ของโนสส์
2.3.5 แนวคิดการเรียนรู้ของแฟร์
2.3.6 แนวคิดการเรียนรุ้ของอิลลิช
2.3.7 แนวคิดการเรียนรุ้ของนีล
2.4 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มผสมผสานของกาเย่ (Gagnes electicism)
3. กลุ่มที่ 3 ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนร่วมสมัย
3.1 ทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลข้อมูล (Information Processing Theory)
3.2 ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of Multiple Intelligences )
3.3 ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง (constructivism)
3.4 ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรคืชิ้นงาน (Constructionism)
3.5 ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ (theory of Cooperative or Collaborative)
( รายละเอียดเนื้อหาแต่ละทฤษฎี ิลองหาอ่านกันดูนะครับ )
กระบวนการจัดการเรียนรู้
กระบวนการเรียนรู้ มี 11 ขั้นตอน
1. กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ
2. กระบวนการสร้างความรู้
3. กระบวนการคิด
4. กระบวนการสังคม
5. กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา
6. กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง
7. กระบวนการปฎิบัติลงมือจริง
8. กระบวนการจัดการ
9. กระบวนการวิจัย
10.กระบวนการเรียนรู้ของตนเอง
11.กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย
( รายละเอียดลองหาอ่านดูนะครับ)
รูปแบบการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
1. รูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivity)
1.1 วิธีสอนแบบแก้ปัญหา (Problem-Solving Method)
1.2 วิธีสอนแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Method)
1.3 วิธีสอนตามขั้นทั้งสี่ของอริยสัจ (Buddists Method )
1.4 การเรียนรู้แบบ 4 MAT
1.5 Cippa Model
2. รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ (Integration)
2.1 การบูรณาการแบบผู้สอนคนเดียว
2.2 การบูรณาการแบบสหวิทยาการ
2.3 การบูรณาการแบบคู่ขนาน
2.4 การบูรณาการแบบโครงการ
3. การจัดการเรียนการสอนแบบ Storyline Method
4. รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบเน้นประสบการณ์ (Expeerimental Instruction)
4.1 การเรียนรู้แบบแสดงบทบาทสมมุติ (Role-Playing)
4.2 การเรียนรู้แบบแสดงละคร (Dramatization)
4.3 การเรียนรุ้แบบสถานการณ์จำลอง (Simulation)
4.4 การเรียนรู้แบบใช้เกม (Game)
4.5 การเรียนรู้โดยใช้กรณีตัวอย่าง (Case)
4.6 การเรียนรู้โดยการจัดประสบการณ์ (Experiential Activities Planning:EPA)
5. การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Co-operative Learning )
6. รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยี (Technology-Related Instruction)
6.1 ศูนย์การเรียน ( Learning Center)
6.2 ชุดการสอน (Instruction Package)
6.3 คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer-Assisted Instruction : CAI)
6.4 E-Learning
7. รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบพัฒนากระบวนการคิดด้วยการใช้คำถามหมวกความคิด 6 ใบ หมวกมี 6 สี ได้แก่ สีขาว สีแดง สีดำ สีเหลือง สีเขียว สีฟ้า
8. รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL)
9. การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน (ProJect Center Learning )
10. รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการสู่พหุปัญญา (Multiple Intelligences)
(ลองหารายละเอียดแต่ละหัวข้อเพิ่มเติมดูนะครับ)
ตัวอย่างข้อสอบ 120 ข้อ คลิิก download ได้ที่ลิงค์นี้นะครับ V
https://onedrive.live.com/redir?resid=DB3D6D176007CA04!125&authkey=!AFcr-jfvJne4H5U&ithint=folder%2c
2.2.1 ทฤษฎีเกสตัลท์ (Gestalt Theory )
2.2.2 ทฤษฎีสนาม (Field Theory)
2.2.3 ทฤษฎีเครื่องหมาย (Sign theory)
2.2.4 ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา (Intellectual Development)
2.2.5 ทฤษฎีการเรียนรุู้อย่างมีความหมาย (A Theory of meaningful Verbal)
2.3 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษย์นิยม (Humanism )
2.3.1 ทฤษฎีการเรียนรู้ของมาสโลว์
2.3.2 ทฤษฎีการเรียนรู้ของรอเจอร์
2.3.3 แนวคิดการเรียนรู้ของโคมส์
2.3.4 แนวคิดการเรียนรู้ของโนสส์
2.3.5 แนวคิดการเรียนรู้ของแฟร์
2.3.6 แนวคิดการเรียนรุ้ของอิลลิช
2.3.7 แนวคิดการเรียนรุ้ของนีล
2.4 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มผสมผสานของกาเย่ (Gagnes electicism)
3. กลุ่มที่ 3 ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนร่วมสมัย
3.1 ทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลข้อมูล (Information Processing Theory)
3.2 ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of Multiple Intelligences )
3.3 ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง (constructivism)
3.4 ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรคืชิ้นงาน (Constructionism)
3.5 ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ (theory of Cooperative or Collaborative)
( รายละเอียดเนื้อหาแต่ละทฤษฎี ิลองหาอ่านกันดูนะครับ )
กระบวนการจัดการเรียนรู้
กระบวนการเรียนรู้ มี 11 ขั้นตอน
1. กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ
2. กระบวนการสร้างความรู้
3. กระบวนการคิด
4. กระบวนการสังคม
5. กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา
6. กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง
7. กระบวนการปฎิบัติลงมือจริง
8. กระบวนการจัดการ
9. กระบวนการวิจัย
10.กระบวนการเรียนรู้ของตนเอง
11.กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย
( รายละเอียดลองหาอ่านดูนะครับ)
รูปแบบการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
1. รูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivity)
1.1 วิธีสอนแบบแก้ปัญหา (Problem-Solving Method)
1.2 วิธีสอนแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Method)
1.3 วิธีสอนตามขั้นทั้งสี่ของอริยสัจ (Buddists Method )
1.4 การเรียนรู้แบบ 4 MAT
1.5 Cippa Model
2. รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ (Integration)
2.1 การบูรณาการแบบผู้สอนคนเดียว
2.2 การบูรณาการแบบสหวิทยาการ
2.3 การบูรณาการแบบคู่ขนาน
2.4 การบูรณาการแบบโครงการ
3. การจัดการเรียนการสอนแบบ Storyline Method
4. รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบเน้นประสบการณ์ (Expeerimental Instruction)
4.1 การเรียนรู้แบบแสดงบทบาทสมมุติ (Role-Playing)
4.2 การเรียนรู้แบบแสดงละคร (Dramatization)
4.3 การเรียนรุ้แบบสถานการณ์จำลอง (Simulation)
4.4 การเรียนรู้แบบใช้เกม (Game)
4.5 การเรียนรู้โดยใช้กรณีตัวอย่าง (Case)
4.6 การเรียนรู้โดยการจัดประสบการณ์ (Experiential Activities Planning:EPA)
5. การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Co-operative Learning )
6. รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยี (Technology-Related Instruction)
6.1 ศูนย์การเรียน ( Learning Center)
6.2 ชุดการสอน (Instruction Package)
6.3 คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer-Assisted Instruction : CAI)
6.4 E-Learning
7. รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบพัฒนากระบวนการคิดด้วยการใช้คำถามหมวกความคิด 6 ใบ หมวกมี 6 สี ได้แก่ สีขาว สีแดง สีดำ สีเหลือง สีเขียว สีฟ้า
8. รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL)
9. การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน (ProJect Center Learning )
10. รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการสู่พหุปัญญา (Multiple Intelligences)
(ลองหารายละเอียดแต่ละหัวข้อเพิ่มเติมดูนะครับ)
ตัวอย่างข้อสอบ 120 ข้อ คลิิก download ได้ที่ลิงค์นี้นะครับ V
https://onedrive.live.com/redir?resid=DB3D6D176007CA04!125&authkey=!AFcr-jfvJne4H5U&ithint=folder%2c
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
สมัครสมาชิก ส่งความคิดเห็น [Atom]
<< หน้าแรก