แนวข้อสอบ เพิ่มเติม ความรู้ความสามารถทั่วไปเกี่ยวกับวิชาการศึกษา เรื่อง หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร
ประเภทของหลักสูตร
1. หลักสูตรที่เน้นการถ่ายทอดเนื้อหาวิชาเป็นหลัก ต้องการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เนื้อหาวิชา เป้นหลักสูตรแบบใด
1. หลักสูตรที่เน้นการถ่ายทอดเนื้อหาวิชาเป็นหลัก ต้องการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เนื้อหาวิชา เป้นหลักสูตรแบบใด
ก. แบบสัมพันธ์วิชา ข. แบบเนื้อหาวิชา ค.แบบหมวดวิชา ง.แบบบูรณาการ
2. หลักสูตรแบบเนื้อหาวิชาใช้ แนวคิดปรัชญาการศึกษาแบบใด
ก. สารัตถนิยม ข.นิรันตรนิยม ค.พิพัฒนาการ ง. ถูก ทั้ง กและ ข
3. หลักสูตรใดที่ได้รับอิทธิพลจากปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการ
ก. หลักสูตรกิจกรรม ข. หลักสูตรแกนกลาง ค. หลักสูตรเพื่อชีวิตและสังคม ง. ถูกทั้งกและข
4. หลักสูตรใดไม่ได้ใช้แนวคิดจากปรัชญาการศึกษาสารัตถนิยม
ก.แบบสัมพันธ์วิชา ข.แบบเนื้อหาวิชา ค.แบบหมวดวิชา ง. แบบบูรณาการ
5. หลักสูตรที่เนื้อหาสาระเน้นไปที่ความต้องการของผู้เรียนแต่ละบุคคลเป็นหลักสูตรลักษณะใด
5. หลักสูตรที่เนื้อหาสาระเน้นไปที่ความต้องการของผู้เรียนแต่ละบุคคลเป็นหลักสูตรลักษณะใด
ก. บูรณาการ ข. เอกัตภาพ ค. แกนกลาง ง. กิจกรรม
6. กระบวนการพัฒนาหลักสูตรของทาบา ขั้นตอนแรก คือข้อใด
ก. กำหนดจุดมุ่งหมาย ข.วินิจฉัยความต้องการ ค. คัดเนื้อหาสาระ ง. จัดเนื้อหาสาระ
7. การควบคุมทิศทางในการจัดการศึกษาใช้ปัจจัยพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรข้อใด
ก. พื้นฐานด้านปรัชญาการศึกษา ข. พื้นฐานด้านจิตวิทยา ค.พื้นฐานด้านสังคม ง. พื้นฐานด้าน เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง
8. หลักสูตรที่เน้นการผสมผสานของเนื้อหาวิชา ที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน หรือสาขาเดียวกันให้มีความสัมพันธ์ระหว่างวิชามากขึ้น เช่นหมวดวิชาสังคมศึกษา ประกอบด้วย วิชาภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมืองเป็นลักษณะของหลักสูตรประเภทใด
ก.หลักสูตรแบบสัมพันธ์วิชา ข. หลักสูตรกิจกรรมและประสบการณ์ ค.หลักสูตรแบบเนื้อหาวิชา ง.หลักสุตรแบบสหสัมพันธ์
9. หลักสูตรที่ยึดเอากิจกรรม ความสนใจ และประสบการณ์แวดล้อมมาเป็นแนวทางในการจัดลำดับประสบการณ์การเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตจริงได้ เป็นลักษณะหลักสูตรประเภทใด
ก. หลักสูตรแบบสัมพันธ์วิชา ข. หลักสูตรกิจกรรมและประสบการณ์ ค.หลักสูตรแบบเนื้อหาวิชา ง.หลักสูตรแบบสหสัมพันธ์
10. หลักสูตรแบบเนื้อหาวิชา เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าอะไร
ก. หลักสุตรแบบรายวิชา ข. หลักสูตรแบบสหสัมพันธ์ ค.หลักสูตรสัมพันธ์รายวิชา ง. หลักสูตรกิจกรรมและประสบการณ์
11.หลักสูตรแบบสหสัมพันธ์ เรียกชื่ออีกอย่างหนึ่งว่าอะไร
ก. หลักสูตรแบบรายวิชา ข. หลักสูตรหมวดวิชา ค. หลักสูตรสัมพันธ์วิชา ง. หลักสูตรกิจกรรมและประสบการณ์
12. หลักสูตรประเภทใดที่เน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลาง
ก. หลักสูตรแบบสัมพันธ์วิชา ข. หลักสูตรกิจกรรมและประสบการณ์ ค. หลักสูตรแบบเนื้อหาวิชา ง.หลักสูตรแบบสหสัมพันธ์
13. หลักสูตรประเภทใด เน้นบูรณาการในการสอน (Integration)
ก. หลักสุตรแกนกลาง ข. หลักสูตรบูรณาการ ค. หลักสูตรแบบเอกัตภาพ ง. หลักสูตรเพื่อชีวิตและสังคม
14. หลักสูตรใดที่เก่าแก่ที่สุด
ก. หลักสูตรแบบสัมพันธ์วิชา ข. หลักสูตรกิจกรมและประสบการณ์ ค. หลักสุตรแบบเนื้อหาวิชา ง.หลักสูตรแบบสหสัมพันธ์
15. หลักสูตรประเภทใดที่การวัดผลให้ความสำคัญกับการพัฒนาผู้เรียนมากกว่าปริมาณความรู้ความจำ
ก. หลักสูตรแบบสัมพันธ์วิชา ข. หลักสูตรกิจกรรมและประสบการณ์ ค. หลักสูตรแบบเนื้อหาวิชา
ง. หลักสูตรแบบสหสัมพันธ์
16. หลักสูตรใด ที่การวัดและประเมินผลจะเน้นารพัฒนาการของนักเรียนทุกด้านและความสามารถในการปรับปรุงตนเองและสร้างสรรค์สังคม
ก. หลักสูตรแกนกลาง ข. หลักสูตรบูรณาการ ค. หลักสูตรแบบเอกัตภาพ ง.หลักสูตรเพื่อชีวิตและสังคม
17. หลักสูตรแบบเอกัตภาพ (The Individual Curriculum)ยึดปรัชญาใดเป็นหลัก
ก. ปฎิรูปนิยม (Reconstructionism) ข. นิรันตรนิยม (Parenialism)ค. อัตถิภาวนิยม(Existentailism)
ง. ปรัชญาพิพัฒนาการ (Progressivism)
18. หลักสูตรแกนกลาง (The Core Curriculum ) ยึดปรัชญาใดเป็นหลัก
ก. ปฎิรูปนิยม ข.นิรันตรนิยม ค. อัตถิภาวะนิยม ง. ปรัชญาพิพัฒนาการ
แนวคิดจากนักการศึกษา
19. ความแตกต่างระหว่างบุคคล
ก. เปสตาลอสซี ข. เฟรอเบล ค. อิริคสัน ง. รุสโซ
20. เด็กจะพัฒนาได้ดีจากการเล่น
ก. เปสตาลอสซี ข. เฟรอเบล ค. อิริคสัน ง. รุสโซ
21. Learning by doing
ก. เปสตารอสซี ข.เฟรอเบล ค. ดิวอี้ ง. รุสโซ
22. เน้นการสอนแบบธรรมชาติ
ก. รุสโซ ข. จอห์น ดิวอี้ ค. กาเย่ ง. สกินเนอร์
23. Project method
ก. รุสโซ ข. คิลแพตทริก ค. กาเย่ ง. สกินเนอร์
24. Discovery Method
ก. บรูเนอร์ ข. จอห์น ดิวอี้ ค. สกินเนอร์ ง. คอมินิอุส
บิดาแห่งการศึกษา
25. บิดาแห่งจิตวิทยาโลก ได้แก่
ก. เฟดริก วิลเฮม เฟรอเบล ข.ซิกมุนด์ ฟรอยด์ ค. แฟรงค์ พาร์สัน ง. จอหน์ ลอค
26. บิดาแห่งจิตวิทยาวิเคราะห์
ก. เฟรดิค วิลเฮม เฟรอเบล ข. ซิกมุนด์ ฟรอยด์ ค.แฟรงค์ พาร์สัน ง. จอห์น ลอค
27. บิดาแห่งการแนะแนว
ก. เฟรดริค วิลเฮม เฟรอเบล ข. ซิกมุนด์ ฟรอยด์ ค.แฟรงค์ พาร์สัน ง. จอห์น ลอค
28. บิดาแห่งจิตวิทยาการทดลอง
ก. วิลเลี่ยม วุ้นท์ ข. อัลเฟรด บิเนต์ ค. วัตสัน ง. จอห์น ลอค
29. บิดาแห่งจิตวิทยาแผนใหม่
ก. วิลเลี่ยม วุ้นท์ ข. อัลเฟรด บิเนต์ ค. วัตสัน ง. จอห์น ลอค
30. บิดาแห่งจิตวิทยาการศึกษา
ก. ธอร์นไดด์ ข. อัลเฟรด บิเนต์ ค.วัตสัน ง. จอห์นลอค
ความหมายการศึกษา
31.การศึกษา คือ การฝึกอบรมจริยธรรมและการเสริมสร้างปัญญา
ก. Aristotle ข. John devey ค. rousseau ง. Carter V. Good
32. การศึกษา คือการปรับปรุงคนให้เข้ากับโอกาสและสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป
ก. Aristotle ข. John Dewey ค. Rousseau ง. Carter V. Good
33. Education is Life
ก. Aristotle ข. John Dewey ค. Rousseau ง. Carter V. Good
34. Education is Growth
ก. Aristotle ข. John Dewey ค. Rousseau ง. Carter V. good
35. Education is Social Process
ก. Aristotle ข. john Dewey ค. Rousseau ง. Carter V. Good
36. Education is experience
ก. Aristotle ข. John Dewey ค. Rousseau ง. Carter V. Good
37. การศึกษาคือการนำเอาศักยภาพในตัวบุคคลไปใช้ให้เป้นประโยชน์
ก. Aristotle ข. john Dewey ค. Rousseau ง. Carter V. Good
38. Education is invesment
ก. Shullz ข. John Dewey ค. Rousseau ง.Carter V. Good
39. การศึกษา คือ การแสวงหาวิชชา
ก. พระราชวรมุนี (ประยูร ธมมจิตโต) ข.ศาสตราจารย์ สาโรช บัวศรี ค. พระพุทธทาส ภิกขุ ง. นายภิญโญ สาธร
ปรัชญาการศึกษา
40 . Essentialism
ก. นิรันตรนิยม ข. สารัตถนิยม ค. พิพัฒนาการนิยม ง. ปฎิบัตินิยม
41. Perenialism
ก.นิรันตรนิยม ข. สารัตถนิยม ค. พิพัฒนาการนิยม ง. ปฎิบัตินิยม
42. Progressivism
ก.นิรันตรนิยม ข. สารัตถนิยม ค. พิพฒนาการนิยม ง. ปฎิบัตินิยม
43. pragmatism
ก. ปฎิบัตินิยม ข. ประสบการณ์นิยม ค. บูรณาการนิยม ง. อัตถิภาวนิยม
44. Experimentalism
ก. ปฎิบัตินิยม ข. ประสบการณ์นิยม ค. บูรณาการนิยม ง. อัตถิภาวนิยม
45. Reconstructionism
ก. ปฎิบัตินิยม ข. ประสบการณ์นิยม ค. บูรณาการนิยม ง. อัตถิภาวะนิยม
46. Existentialism
11.หลักสูตรแบบสหสัมพันธ์ เรียกชื่ออีกอย่างหนึ่งว่าอะไร
ก. หลักสูตรแบบรายวิชา ข. หลักสูตรหมวดวิชา ค. หลักสูตรสัมพันธ์วิชา ง. หลักสูตรกิจกรรมและประสบการณ์
12. หลักสูตรประเภทใดที่เน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลาง
ก. หลักสูตรแบบสัมพันธ์วิชา ข. หลักสูตรกิจกรรมและประสบการณ์ ค. หลักสูตรแบบเนื้อหาวิชา ง.หลักสูตรแบบสหสัมพันธ์
13. หลักสูตรประเภทใด เน้นบูรณาการในการสอน (Integration)
ก. หลักสุตรแกนกลาง ข. หลักสูตรบูรณาการ ค. หลักสูตรแบบเอกัตภาพ ง. หลักสูตรเพื่อชีวิตและสังคม
14. หลักสูตรใดที่เก่าแก่ที่สุด
ก. หลักสูตรแบบสัมพันธ์วิชา ข. หลักสูตรกิจกรมและประสบการณ์ ค. หลักสุตรแบบเนื้อหาวิชา ง.หลักสูตรแบบสหสัมพันธ์
15. หลักสูตรประเภทใดที่การวัดผลให้ความสำคัญกับการพัฒนาผู้เรียนมากกว่าปริมาณความรู้ความจำ
ก. หลักสูตรแบบสัมพันธ์วิชา ข. หลักสูตรกิจกรรมและประสบการณ์ ค. หลักสูตรแบบเนื้อหาวิชา
ง. หลักสูตรแบบสหสัมพันธ์
16. หลักสูตรใด ที่การวัดและประเมินผลจะเน้นารพัฒนาการของนักเรียนทุกด้านและความสามารถในการปรับปรุงตนเองและสร้างสรรค์สังคม
ก. หลักสูตรแกนกลาง ข. หลักสูตรบูรณาการ ค. หลักสูตรแบบเอกัตภาพ ง.หลักสูตรเพื่อชีวิตและสังคม
17. หลักสูตรแบบเอกัตภาพ (The Individual Curriculum)ยึดปรัชญาใดเป็นหลัก
ก. ปฎิรูปนิยม (Reconstructionism) ข. นิรันตรนิยม (Parenialism)ค. อัตถิภาวนิยม(Existentailism)
ง. ปรัชญาพิพัฒนาการ (Progressivism)
18. หลักสูตรแกนกลาง (The Core Curriculum ) ยึดปรัชญาใดเป็นหลัก
ก. ปฎิรูปนิยม ข.นิรันตรนิยม ค. อัตถิภาวะนิยม ง. ปรัชญาพิพัฒนาการ
แนวคิดจากนักการศึกษา
19. ความแตกต่างระหว่างบุคคล
ก. เปสตาลอสซี ข. เฟรอเบล ค. อิริคสัน ง. รุสโซ
20. เด็กจะพัฒนาได้ดีจากการเล่น
ก. เปสตาลอสซี ข. เฟรอเบล ค. อิริคสัน ง. รุสโซ
21. Learning by doing
ก. เปสตารอสซี ข.เฟรอเบล ค. ดิวอี้ ง. รุสโซ
22. เน้นการสอนแบบธรรมชาติ
ก. รุสโซ ข. จอห์น ดิวอี้ ค. กาเย่ ง. สกินเนอร์
23. Project method
ก. รุสโซ ข. คิลแพตทริก ค. กาเย่ ง. สกินเนอร์
24. Discovery Method
ก. บรูเนอร์ ข. จอห์น ดิวอี้ ค. สกินเนอร์ ง. คอมินิอุส
บิดาแห่งการศึกษา
25. บิดาแห่งจิตวิทยาโลก ได้แก่
ก. เฟดริก วิลเฮม เฟรอเบล ข.ซิกมุนด์ ฟรอยด์ ค. แฟรงค์ พาร์สัน ง. จอหน์ ลอค
26. บิดาแห่งจิตวิทยาวิเคราะห์
ก. เฟรดิค วิลเฮม เฟรอเบล ข. ซิกมุนด์ ฟรอยด์ ค.แฟรงค์ พาร์สัน ง. จอห์น ลอค
27. บิดาแห่งการแนะแนว
ก. เฟรดริค วิลเฮม เฟรอเบล ข. ซิกมุนด์ ฟรอยด์ ค.แฟรงค์ พาร์สัน ง. จอห์น ลอค
28. บิดาแห่งจิตวิทยาการทดลอง
ก. วิลเลี่ยม วุ้นท์ ข. อัลเฟรด บิเนต์ ค. วัตสัน ง. จอห์น ลอค
29. บิดาแห่งจิตวิทยาแผนใหม่
ก. วิลเลี่ยม วุ้นท์ ข. อัลเฟรด บิเนต์ ค. วัตสัน ง. จอห์น ลอค
30. บิดาแห่งจิตวิทยาการศึกษา
ก. ธอร์นไดด์ ข. อัลเฟรด บิเนต์ ค.วัตสัน ง. จอห์นลอค
ความหมายการศึกษา
31.การศึกษา คือ การฝึกอบรมจริยธรรมและการเสริมสร้างปัญญา
ก. Aristotle ข. John devey ค. rousseau ง. Carter V. Good
32. การศึกษา คือการปรับปรุงคนให้เข้ากับโอกาสและสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป
ก. Aristotle ข. John Dewey ค. Rousseau ง. Carter V. Good
33. Education is Life
ก. Aristotle ข. John Dewey ค. Rousseau ง. Carter V. Good
34. Education is Growth
ก. Aristotle ข. John Dewey ค. Rousseau ง. Carter V. good
35. Education is Social Process
ก. Aristotle ข. john Dewey ค. Rousseau ง. Carter V. Good
36. Education is experience
ก. Aristotle ข. John Dewey ค. Rousseau ง. Carter V. Good
37. การศึกษาคือการนำเอาศักยภาพในตัวบุคคลไปใช้ให้เป้นประโยชน์
ก. Aristotle ข. john Dewey ค. Rousseau ง. Carter V. Good
38. Education is invesment
ก. Shullz ข. John Dewey ค. Rousseau ง.Carter V. Good
39. การศึกษา คือ การแสวงหาวิชชา
ก. พระราชวรมุนี (ประยูร ธมมจิตโต) ข.ศาสตราจารย์ สาโรช บัวศรี ค. พระพุทธทาส ภิกขุ ง. นายภิญโญ สาธร
ปรัชญาการศึกษา
40 . Essentialism
ก. นิรันตรนิยม ข. สารัตถนิยม ค. พิพัฒนาการนิยม ง. ปฎิบัตินิยม
41. Perenialism
ก.นิรันตรนิยม ข. สารัตถนิยม ค. พิพัฒนาการนิยม ง. ปฎิบัตินิยม
42. Progressivism
ก.นิรันตรนิยม ข. สารัตถนิยม ค. พิพฒนาการนิยม ง. ปฎิบัตินิยม
43. pragmatism
ก. ปฎิบัตินิยม ข. ประสบการณ์นิยม ค. บูรณาการนิยม ง. อัตถิภาวนิยม
44. Experimentalism
ก. ปฎิบัตินิยม ข. ประสบการณ์นิยม ค. บูรณาการนิยม ง. อัตถิภาวนิยม
45. Reconstructionism
ก. ปฎิบัตินิยม ข. ประสบการณ์นิยม ค. บูรณาการนิยม ง. อัตถิภาวะนิยม
46. Existentialism
ก. ปฎิบัตินิยม ข. ประสบการณ์นิยม ค. บูรณาการนิยม ง. อัตถิภาวะนิยม
47. Buddhism
ก. ปฎิบัตินิยม ข. อัตถิภาวะนิยม ค. บูรณาการนิยม ง. พุทธปรัชญาการศึกษา
48. ผู้ริเริ่มแนวคิดปรัชญาก่ารศึกษา Essentialism
ก. ยัง ย๊าคส์ รุสโซ ข. เปสตา ลอสซี ค. ศ. วิลเลียม ซี แบกเลย์ ง. โรเบิร์ต เอ็ม อัทชินส์
49. ผู้ริเริ่มแนวคิดปรัชญาการศึกษา Pereniallism
ก. ยัง ย๊าคส์ รุสโซ ข. เปสตาลอสซี ค. ศ. วิลเลียม ซี แบกเลย์ ง. โรเบิร์ต เอ็ม อัทชินส์
50. ผู้ริเริ่มปรัชญาการศึกษา Progressivism
ก. ยัง ย๊าคส์ รุสโซ ข. เปสตาลอสซี ค. เฟรดเดอริค โฟรเบล ง. ถูกทุกข้อ
51. ผู้ได้รับความนิยมในแนวคิดปรัชญาการศึกษา Progressivism
ก. ยัง ย๊าคส์ รุสโซ ข. เปสตา ลอสซี ค. เฟรดเดอริค โฟรเบล ง. จอห์น ดิวอี้
52. ผู้ริเริ่มแนวคิดปรัชญาการศึกษา Reconstructionism
ก. ยอร์ช เอส เค้าทส์ ข. เปสตา ลอสซี ค. ศ. วิลเลียม ซี แบกเลย์ ง. โรเบิร์ต เอ็ม ฮัชชินส์
53. ผู้ริเริ่มแนวคิดปรัชญาการศึกษา Existentionlism
ก. ยัง ยาคส์ รุสโซ ข. ซอเรนคีร์ เคกอร์ด ค. เอ เอส นิลล์ ง. โรเบิร์ต เอ็ม ฮัชชินส์
54. ผู้ริเริ่มแนวคิดปรัชญาการศึกษา Buddhism
ก. พระราชวรมุนี (ประยูร ธมมจิตโต) ข. ศ. สาโรช บัวศรี ค. พระพุทธทาส ภิกขุ ง. นายภิญโญ สาธร
55. ปรัชญาที่เชื่อว่า การศึกษาเป็นเครื่องมือที่ใช้ถ่ายทอดความรู้ความจริงทางธรรมชาติ
ก. Perenialism ข. Essentialism ค. Progresssivism ง. Reconstructionism
56. ปรัชญาที่เชื่อว่าโลกนี้มีบางสิ่งที่มีคุณค่าถาวร ไม่เปลี่ยนแปลง ที่เราควรอนุรักษ์และถ่ายทอดให้คนรุ่นหลังต่อไป
ก. Perenialism ข. Essentialism ค. Progresssivism ง. Reconstructionism
57. ปรัชญาที่เชื่อว่าการปฎิรูปสังคม เป็นหน้าที่ของสมาชิกของคนในสังคมทุกคนและการศึกษาเป็นเครื่องมือสำคัญที่สามารถทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในสังคมได้
ก. Perenialism ข. Essentialism ค. Progresssivism ง. Reconstructionism
58. ปรัชญาการศึกษาที่สอนให้ผู้เรียนรู้จักคิดและแก้ปัญหา ให้ผู้เรียนค้นหาคำตอบด้วยตัวเอง
ก. Perenialism ข. Essentialism ค. Progresssivism ง. Reconstructionism
59. ปรัชญาการศึกษาที่มีจุดมุ่งหมายของการศึกษาจะต้องช่วยแก้ปัญหาของสังคมที่เป็นอยู่
ก. Perenialism ข. Essentialism ค. Progresssivism ง. Reconstructionism
60. ปรัชญาการศึกษาที่มุ่งให้ผู้เรียนได้พัมนาความเป็นมนุษย์ของตนเองอย่างเต็มที่รู้จักให้เสรีภาพในการเลือกทำสิ่งต่างๆ โดยมีความรับผิดชอบในสิ่งที่ตนเลือกนั้น
ก. Perenialism ข. Essentialism ค. Existentiallism ง. Reconstructionism
เฉลย
1) ข 2) ถูกทั้ง ก ทั้ง ข 3) ถูกทั้ง ก ทั้ง ข 4) ง 5) ข 6) ข 7) ก 8) ง 9) ข 10) ก 11) ข 12) ข 13) ก 14) ค 15) ข 16) ง 17) ค 18) ก 19) ก 20) ข 21) ค 22) ก 23) ข 24) ก 25) ข 26) ข 27) ค
28) ก 29) ค 30) ก 31) ก 32) ค 33) ข 34) ข 35) ข 36) ข 37) ค 38) ก 39) ก 40) ข 41) ก
42) ค 43) ก 44) ข 45) ค 46) ง 47) ง 48) ค 49) ง 50) ง 51) ง 52) ก 53) ง 54) ข 55)ข 56) ก
57) ง 58) ค 59) ง 60) ค
47. Buddhism
ก. ปฎิบัตินิยม ข. อัตถิภาวะนิยม ค. บูรณาการนิยม ง. พุทธปรัชญาการศึกษา
48. ผู้ริเริ่มแนวคิดปรัชญาก่ารศึกษา Essentialism
ก. ยัง ย๊าคส์ รุสโซ ข. เปสตา ลอสซี ค. ศ. วิลเลียม ซี แบกเลย์ ง. โรเบิร์ต เอ็ม อัทชินส์
49. ผู้ริเริ่มแนวคิดปรัชญาการศึกษา Pereniallism
ก. ยัง ย๊าคส์ รุสโซ ข. เปสตาลอสซี ค. ศ. วิลเลียม ซี แบกเลย์ ง. โรเบิร์ต เอ็ม อัทชินส์
50. ผู้ริเริ่มปรัชญาการศึกษา Progressivism
ก. ยัง ย๊าคส์ รุสโซ ข. เปสตาลอสซี ค. เฟรดเดอริค โฟรเบล ง. ถูกทุกข้อ
51. ผู้ได้รับความนิยมในแนวคิดปรัชญาการศึกษา Progressivism
ก. ยัง ย๊าคส์ รุสโซ ข. เปสตา ลอสซี ค. เฟรดเดอริค โฟรเบล ง. จอห์น ดิวอี้
52. ผู้ริเริ่มแนวคิดปรัชญาการศึกษา Reconstructionism
ก. ยอร์ช เอส เค้าทส์ ข. เปสตา ลอสซี ค. ศ. วิลเลียม ซี แบกเลย์ ง. โรเบิร์ต เอ็ม ฮัชชินส์
53. ผู้ริเริ่มแนวคิดปรัชญาการศึกษา Existentionlism
ก. ยัง ยาคส์ รุสโซ ข. ซอเรนคีร์ เคกอร์ด ค. เอ เอส นิลล์ ง. โรเบิร์ต เอ็ม ฮัชชินส์
54. ผู้ริเริ่มแนวคิดปรัชญาการศึกษา Buddhism
ก. พระราชวรมุนี (ประยูร ธมมจิตโต) ข. ศ. สาโรช บัวศรี ค. พระพุทธทาส ภิกขุ ง. นายภิญโญ สาธร
55. ปรัชญาที่เชื่อว่า การศึกษาเป็นเครื่องมือที่ใช้ถ่ายทอดความรู้ความจริงทางธรรมชาติ
ก. Perenialism ข. Essentialism ค. Progresssivism ง. Reconstructionism
56. ปรัชญาที่เชื่อว่าโลกนี้มีบางสิ่งที่มีคุณค่าถาวร ไม่เปลี่ยนแปลง ที่เราควรอนุรักษ์และถ่ายทอดให้คนรุ่นหลังต่อไป
ก. Perenialism ข. Essentialism ค. Progresssivism ง. Reconstructionism
57. ปรัชญาที่เชื่อว่าการปฎิรูปสังคม เป็นหน้าที่ของสมาชิกของคนในสังคมทุกคนและการศึกษาเป็นเครื่องมือสำคัญที่สามารถทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในสังคมได้
ก. Perenialism ข. Essentialism ค. Progresssivism ง. Reconstructionism
58. ปรัชญาการศึกษาที่สอนให้ผู้เรียนรู้จักคิดและแก้ปัญหา ให้ผู้เรียนค้นหาคำตอบด้วยตัวเอง
ก. Perenialism ข. Essentialism ค. Progresssivism ง. Reconstructionism
59. ปรัชญาการศึกษาที่มีจุดมุ่งหมายของการศึกษาจะต้องช่วยแก้ปัญหาของสังคมที่เป็นอยู่
ก. Perenialism ข. Essentialism ค. Progresssivism ง. Reconstructionism
60. ปรัชญาการศึกษาที่มุ่งให้ผู้เรียนได้พัมนาความเป็นมนุษย์ของตนเองอย่างเต็มที่รู้จักให้เสรีภาพในการเลือกทำสิ่งต่างๆ โดยมีความรับผิดชอบในสิ่งที่ตนเลือกนั้น
ก. Perenialism ข. Essentialism ค. Existentiallism ง. Reconstructionism
เฉลย
1) ข 2) ถูกทั้ง ก ทั้ง ข 3) ถูกทั้ง ก ทั้ง ข 4) ง 5) ข 6) ข 7) ก 8) ง 9) ข 10) ก 11) ข 12) ข 13) ก 14) ค 15) ข 16) ง 17) ค 18) ก 19) ก 20) ข 21) ค 22) ก 23) ข 24) ก 25) ข 26) ข 27) ค
28) ก 29) ค 30) ก 31) ก 32) ค 33) ข 34) ข 35) ข 36) ข 37) ค 38) ก 39) ก 40) ข 41) ก
42) ค 43) ก 44) ข 45) ค 46) ง 47) ง 48) ค 49) ง 50) ง 51) ง 52) ก 53) ง 54) ข 55)ข 56) ก
57) ง 58) ค 59) ง 60) ค
1 ความคิดเห็น:
ขอบคุณค่ะ
แสดงความคิดเห็น
สมัครสมาชิก ส่งความคิดเห็น [Atom]
<< หน้าแรก